วันพุธที่ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2556
สังกรณีด่าง
คำหอม
สายหยุดกลีบกล้วยไม้(กลีบเปิด)
สายหยุดเหลืองดอกใหญ่
สายหยุดเหลืองดอกใหญ่มีขนาดดอกใหญ่อ้วนกลมขอบเป็นสีระเรื่อ มีกลิ่นหอมเมื่ออาทิตย์ตกดินและจะจางหายไปเมื่ออากาศร้อนและมีแสงแดด สายหยุดเป็นไม้กึ่งเลื้อยเอนชายเมื่อได้รับแสงน้อย แต่จะสามารถตั้งทรงพุ่มได้สวยเมื่อมีแสงแดด เป็นไม้โบราณมีกลิ่นหอมหวาน อบอวลลอยได้ไกล ดอกมีสีสันสวยงามให้ดอกดกและบ่อย ชอบความชุ่มชื้นและแสงแดด
วันจันทร์ที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2556
มนต์จำปา
มนต์จำปา
ไม้ลูกผสมระหว่างมณฑาทองและจำปาเวลาบานบานขนาดใหญ่ถึง12ซม. มีกลิ่นหอม เมื่อบานจนสุดร่วงทีล่ะกลีบ
วันอังคารที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2554
แย้มปีนัง
แย้มปีนัง
ชื่อวิทยาศาสตร์ Strophanthus gratus Franch.
ฤดูออกดอก มกราคม-มีนาคม ออกดอกที่ยอด เมื่อแตกยอดอ่อนจะผลิดอกมาด้วย และดอกดก บานได้นาน มีกลิ่นหอมหวาน เป็นไม้กึ่งเลื้อยแต่สามารถตัดแต่งตัดพุ่มให้เป็นไม้ยืนต้นได้ โดยตัดในระยะที่แย้มปีนังไม่มีดอกและยอดอ่อนใหม่ๆ เพราะดอกเกิดที่ยอดอ่อน และให้ดอกนานบานได้หลายวัน
ชื่อวิทยาศาสตร์ Strophanthus gratus Franch.
ฤดูออกดอก มกราคม-มีนาคม ออกดอกที่ยอด เมื่อแตกยอดอ่อนจะผลิดอกมาด้วย และดอกดก บานได้นาน มีกลิ่นหอมหวาน เป็นไม้กึ่งเลื้อยแต่สามารถตัดแต่งตัดพุ่มให้เป็นไม้ยืนต้นได้ โดยตัดในระยะที่แย้มปีนังไม่มีดอกและยอดอ่อนใหม่ๆ เพราะดอกเกิดที่ยอดอ่อน และให้ดอกนานบานได้หลายวัน
แคแดง
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Sesbania grandiflora (L.) Desv.
ชื่อสามัญ : Agasta, Sesban, Vegetable humming bird
วงศ์ : Leguminosae - Papilionoideae
ชื่ออื่น : แค แคบ้านดอกแดง แคขาว (ภาคกลาง) แคแดง (เชียงใหม่)
แคแดงมีรสชาติดีกว่าแคขาวที่จะมีรสจืดกว่า และมีสีสันสวยงาม บางบ้านปลูกประดับเพราะแคแดงให้ดอกดก
สรรพคุณ :
เปลือก
- ต้มหรือฝนรับประทาน แก้โรคบิดมีตัว
- แก้มูกเลือด แก้ท้องเดิน ท้องร่วง คุมธาตุ
- ภายนอก ใช้ชะล้างบาดแผล
ดอก,ใบ - รับประทานแก้ไข้เปลี่ยนอากาศ เปลี่ยนฤดู (แก้ไข้หัวลม)
ชาวอินเดีย ใช้สูดน้ำที่คั้นได้จากดอกหรือใบแคเข้าจมูกรักษาโรค ริดสีดวงในจมูก และทำให้มีน้ำมูกออกมา แก้ปวดและหนักศีรษะ ลดความร้อน ลดไข้
ใบสด
- รับประทานใบแคทำให้ระบาย
- ใบแค ตำละเอียด พอกแก้ช้ำชอก
วิธีและปริมาณที่ใช้ :
แก้มูกเลือด บิดมีตัว แก้ท้องเดิน ท้องร่วง คุมธาตุ
ใช้เปลือกต้นปิ้งไฟ 1 ส่วน ต้มกับน้ำหรือน้ำปูนใส 10 ส่วน รับประทานครั้งละ 1-2 ช้อนแกง
แก้ไข้ ลดความร้อน แก้ไข้หัวลม (หรือไข้อากาศเปลี่ยน)
- ใบสด ต้มกับน้ำรับประทานลดไข้ ใช้ยอดอ่อนจำนวนไม่จำกัด ลวกจิ้มกับน้ำพริก รับประทานแก้ปวดศีรษะข้างเดียว
- ใช้ดอกที่โตเต็มที่ล้างน้ำ ต้มกับหมูทำบะช่อ 1 ชาม รับประทาน 1 มื้อ รับประทานติดต่อกัน 3-7 วัน จะได้ผล
คัดลอกมาจาก
ชื่อสามัญ : Agasta, Sesban, Vegetable humming bird
วงศ์ : Leguminosae - Papilionoideae
ชื่ออื่น : แค แคบ้านดอกแดง แคขาว (ภาคกลาง) แคแดง (เชียงใหม่)
แคแดงมีรสชาติดีกว่าแคขาวที่จะมีรสจืดกว่า และมีสีสันสวยงาม บางบ้านปลูกประดับเพราะแคแดงให้ดอกดก
สรรพคุณ :
เปลือก
- ต้มหรือฝนรับประทาน แก้โรคบิดมีตัว
- แก้มูกเลือด แก้ท้องเดิน ท้องร่วง คุมธาตุ
- ภายนอก ใช้ชะล้างบาดแผล
ดอก,ใบ - รับประทานแก้ไข้เปลี่ยนอากาศ เปลี่ยนฤดู (แก้ไข้หัวลม)
ชาวอินเดีย ใช้สูดน้ำที่คั้นได้จากดอกหรือใบแคเข้าจมูกรักษาโรค ริดสีดวงในจมูก และทำให้มีน้ำมูกออกมา แก้ปวดและหนักศีรษะ ลดความร้อน ลดไข้
ใบสด
- รับประทานใบแคทำให้ระบาย
- ใบแค ตำละเอียด พอกแก้ช้ำชอก
วิธีและปริมาณที่ใช้ :
แก้มูกเลือด บิดมีตัว แก้ท้องเดิน ท้องร่วง คุมธาตุ
ใช้เปลือกต้นปิ้งไฟ 1 ส่วน ต้มกับน้ำหรือน้ำปูนใส 10 ส่วน รับประทานครั้งละ 1-2 ช้อนแกง
แก้ไข้ ลดความร้อน แก้ไข้หัวลม (หรือไข้อากาศเปลี่ยน)
- ใบสด ต้มกับน้ำรับประทานลดไข้ ใช้ยอดอ่อนจำนวนไม่จำกัด ลวกจิ้มกับน้ำพริก รับประทานแก้ปวดศีรษะข้างเดียว
- ใช้ดอกที่โตเต็มที่ล้างน้ำ ต้มกับหมูทำบะช่อ 1 ชาม รับประทาน 1 มื้อ รับประทานติดต่อกัน 3-7 วัน จะได้ผล
คัดลอกมาจาก
มุจลินทร์ด่าง(Ravenia spectabilis)ใบด่าง
มุจลินทร์ด่าง(Ravenia spectabilis)ใบด่าง
ถิ่นกำเนิด คิวบา
มุจลินทร์ด่างมีดอกสีชมพูและมีเส้นๆขาวผ่านกลีบดอกหนึ่งเส้นเหมือนกับมุจลินทร์แดง
ให้ดอกดกและมีสีสันสวยงามต้นโตได้ถึงสามเมตร
ถิ่นกำเนิด คิวบา
มุจลินทร์ด่างมีดอกสีชมพูและมีเส้นๆขาวผ่านกลีบดอกหนึ่งเส้นเหมือนกับมุจลินทร์แดง
ให้ดอกดกและมีสีสันสวยงามต้นโตได้ถึงสามเมตร
วันศุกร์ที่ 18 มีนาคม พ.ศ. 2554
มุจลินทร์แดง
วงศ์ : Rutaceae
ถิ่นกำเนิด : Cuba
มุจลินทร์แดงเป็นไม้นำเข้ามีถิ่นกำเนิดจากคิวบา ไม้พุ่ม มีดอกขนาดเล็ก ออกดอกที่ยอดทยอยบานทีล่ะดอก
วันอาทิตย์ที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2553
วันเสาร์ที่ 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2553
วันศุกร์ที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2553
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)